เช็กแอปเงินกู้

‘เช็กได้ที่นี่! ช่องทางและวิธีตรวจสอบ “แอปและเว็บไซต์เงินกู้” เพื่อรู้เท่าทันมิจฉาชีพและแน่ใจว่าผู้ให้บริการเหล่านั้นได้รับอนุญาตประกอบธุรกิจอย่างถูกต้อง '
o รู้ทัน ระวังภัย ไม่ตกเป็นเหยื่อของมิจฉาชีพ
ปัจจุบันพบว่ามิจฉาชีพหลอกให้ประชาชนกู้เงินในหลากหลายรูปแบบ โดยมักจะส่งข้อความเชิญชวนหรือประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทาง SMS ไลน์ เฟสบุ๊ก เว็บไซต์ หรือโทรศัพท์มาหา โดยใช้ข้อความชวนเชื่อว่า กู้ง่าย ได้เร็ว ดอกเบี้ยต่ำ ใช้เอกสารน้อย ไม่ต้องมีหลักประกัน ติดแบล็กลิสต์ก็กู้ได้ หากเหยื่อหลงเชื่อก็จะให้สมัครผ่านแอปเงินกู้ หลังจากนั้นจะเริ่มขอเอกสารส่วนตัว เช่น สำเนาบัตรประชาชน สำเนาทะเบียนบ้าน หน้าสมุดบัญชี แล้วหว่านล้อมหลอกให้เราโอนเงินค่าธรรมเนียม ค่ามัดจำต่าง ๆ หรือเงินค้ำประกันให้ก่อน จึงจะได้เงินกู้ตามจำนวนที่ต้องการ ซึ่งหากประชาชนหลงเชื่อแล้วอาจพบเจอกับสถานการณ์เหล่านี้
- แจ้งว่าเหยื่อกรอกเลขที่บัญชีผิด ต้องโอนเงินค่าธรรมเนียมในการแก้ไขข้อมูลเพิ่ม
- หากเหยื่อเปลี่ยนใจไม่อยากกู้แล้ว ก็อ้างว่าไม่สามารถยกเลิกได้ ให้เดินทางไปติดต่อที่สำนักงานใหญ่ หรือ แบงก์ชาติ และข่มขู่ให้เหยื่อกลัว
- หากเหยื่อเริ่มรู้ตัวว่าโดนหลอก มิจฉาชีพก็จะปิดการติดต่อโดยการบล็อกไลน์ทำให้ไม่สามารถติดต่อมิจฉาชีพได้อีก
สุดท้ายมิจฉาชีพหายเงียบไปพร้อมค่าธรรมเนียม รู้ตัวอีกทีก็โดนหลอกเสียแล้ว
“ถ้าผู้ให้กู้รายใด แจ้งให้โอนเงินก่อน สันนิษฐานเลยว่าอาจจะเป็นมิจฉาชีพหลอกลวง
ห้ามโอนเงินก่อนเด็ดขาด จนกว่าจะตรวจสอบให้แน่ใจว่ามีตัวตนอยู่จริง "
o เงินกู้นอกระบบ…จบไม่ค่อยสวย
อีกหนึ่งกลุ่มสินเชื่อหรือเงินกู้ที่แบงก์ชาติไม่ได้กำกับดูแล คือ เงินกู้นอกระบบ (หนี้ที่ผู้ให้กู้ไม่อยู่ในระบบสถาบันการเงิน) อีกหนึ่งภัยทางการเงินที่น่ากลัวเช่นกัน เพราะการกู้นอกระบบมักมีการเรียกเก็บดอกเบี้ยสูงเกินกว่าที่กฎหมายกำหนด (ตามกฎหมายคือ การเรียกเก็บดอกเบี้ยต้องไม่เกินร้อยละ 15 ต่อปี หรือร้อยละ 1.25 ต่อเดือน) และมักใช้วิธีทวงหนี้ที่ไม่เป็นธรรม เช่น ทวงหนี้ผ่านคนรู้จักทำให้ผู้กู้เกิดความอับอาย ข่มขู่ถึงแก่ชีวิต โดยมิจฉาชีพจะแฝงตัวมาในลักษณะปล่อยเงินกู้ผ่านระบบออนไลน์ เข้ามาขอเป็นเพื่อนผ่านทางเฟซบุ๊ก หรือ ประกาศในเว็บไซต์ต่างๆ เชิญชวนให้ใช้บริการ อ้างว่ากู้เงินได้เร็ว ไม่ต้องมีหลักประกัน จะเห็นว่าหนี้นอกระบบนั้นทั้งน่ากลัวและอันตราย นอกจากจะโดนเอาเปรียบให้เสียเงิน เสียบ้าน เสียรถ เสียชื่อเสียง เจ็บตัว หมดตัว หรือมีความเสี่ยงถึงชีวิต จึงไม่ควรเอาตัวไปยุ่งเกี่ยวอย่างเด็ดขาด
o ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น
ด้วยช่องทางและรูปแบบการหลอกลวงของมิจฉาชีพที่หลากหลาย หากท่านได้รับข้อความกู้เงินด่วนไม่ว่าช่องทางใดก็ตาม อย่าหลงเชื่อลิงก์ที่แนบมาโดยไม่มีแหล่งที่มา และห้ามกดเปิดลิงก์หรือกรอกข้อความใดๆ อย่างเด็ดขาด จนกว่าจะตรวจสอบให้มั่นใจ เพราะอาจเกิดความเสียหายและผลกระทบอีกมากมายที่ตามมาได้ ไม่ว่าจะเป็น …
1. ข้อมูลส่วนตัว…โดนขโมยไปแบบไม่รู้ตัว
มิจฉาชีพอาจแฮกข้อมูลส่วนตัวของท่านเพื่อแอบอ้างหรือสวมรอยใช้ในทางมิชอบ ซึ่งอาจทำให้ผู้กู้เกิดความเสียหายและเสียทรัพย์จำนวนมาก เช่น แอบอ้างนำข้อมูลไปเปิดบัญชี e-Wallet ปลอม ปลอมตัวเป็นคนรู้จักด้วยการแฮก LINE หรือ Facebook ขอความช่วยเหลือให้โอนเงินให้ เป็นต้น
2. เสียทรัพย์…แต่กลับไม่ได้เงินกู้
มิจฉาชีพมักกำหนดเงื่อนไขการได้รับเงินกู้ที่ไม่ชัดเจน โดยมิจฉาชีพจะอ้างตัวเป็นสถาบันการเงิน ธนาคาร บริษัทให้กู้เงิน หรือเป็นนายหน้าช่วยขอสินเชื่อ และมักจะหลอกประชาชนว่า จะได้รับเงินกู้วงเงินสูง อนุมัติไว ขั้นตอนน้อย แต่จะดำเนินการได้จะต้องโอนเงินค่ามัดจำ หรือเงินค้ำประกันให้ก่อน ท้ายสุดมิจฉาชีพเชิดเงินหนี ประชาชนผู้ถูกหลอกก็จะเสียทั้งทรัพย์และไม่ได้เงินกู้อย่างที่ตั้งใจไว้
3. น่ากลัวกว่าที่คิด…เพราะอาจอันตรายถึงชีวิต
หากมีการผิดนัดชำระหนี้ ลูกหนี้จะไม่สามารถประนอมหนี้ได้ และมิจฉาชีพมักข่มขู่จนอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สินของผู้กู้
4. ดอกเบี้ยสุดโหด…จ่ายไม่หมดเสียที
เงินกู้นอกระบบมักมีอัตราดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียมที่ไม่ชัดเจนขึ้นอยู่กับเจ้าหนี้กำหนด ซึ่งมักเป็นอัตราที่สูงมาก
ปัจจุบันพบว่ามิจฉาชีพหลอกให้ประชาชนกู้เงินในหลากหลายรูปแบบ โดยมักจะส่งข้อความเชิญชวนหรือประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทาง SMS ไลน์ เฟสบุ๊ก เว็บไซต์ หรือโทรศัพท์มาหา โดยใช้ข้อความชวนเชื่อว่า กู้ง่าย ได้เร็ว ดอกเบี้ยต่ำ ใช้เอกสารน้อย ไม่ต้องมีหลักประกัน ติดแบล็กลิสต์ก็กู้ได้ หากเหยื่อหลงเชื่อก็จะให้สมัครผ่านแอปเงินกู้ หลังจากนั้นจะเริ่มขอเอกสารส่วนตัว เช่น สำเนาบัตรประชาชน สำเนาทะเบียนบ้าน หน้าสมุดบัญชี แล้วหว่านล้อมหลอกให้เราโอนเงินค่าธรรมเนียม ค่ามัดจำต่าง ๆ หรือเงินค้ำประกันให้ก่อน จึงจะได้เงินกู้ตามจำนวนที่ต้องการ ซึ่งหากประชาชนหลงเชื่อแล้วอาจพบเจอกับสถานการณ์เหล่านี้
- แจ้งว่าเหยื่อกรอกเลขที่บัญชีผิด ต้องโอนเงินค่าธรรมเนียมในการแก้ไขข้อมูลเพิ่ม
- หากเหยื่อเปลี่ยนใจไม่อยากกู้แล้ว ก็อ้างว่าไม่สามารถยกเลิกได้ ให้เดินทางไปติดต่อที่สำนักงานใหญ่ หรือ แบงก์ชาติ และข่มขู่ให้เหยื่อกลัว
- หากเหยื่อเริ่มรู้ตัวว่าโดนหลอก มิจฉาชีพก็จะปิดการติดต่อโดยการบล็อกไลน์ทำให้ไม่สามารถติดต่อมิจฉาชีพได้อีก
สุดท้ายมิจฉาชีพหายเงียบไปพร้อมค่าธรรมเนียม รู้ตัวอีกทีก็โดนหลอกเสียแล้ว
“ถ้าผู้ให้กู้รายใด แจ้งให้โอนเงินก่อน สันนิษฐานเลยว่าอาจจะเป็นมิจฉาชีพหลอกลวง
ห้ามโอนเงินก่อนเด็ดขาด จนกว่าจะตรวจสอบให้แน่ใจว่ามีตัวตนอยู่จริง "
o เงินกู้นอกระบบ…จบไม่ค่อยสวย
อีกหนึ่งกลุ่มสินเชื่อหรือเงินกู้ที่แบงก์ชาติไม่ได้กำกับดูแล คือ เงินกู้นอกระบบ (หนี้ที่ผู้ให้กู้ไม่อยู่ในระบบสถาบันการเงิน) อีกหนึ่งภัยทางการเงินที่น่ากลัวเช่นกัน เพราะการกู้นอกระบบมักมีการเรียกเก็บดอกเบี้ยสูงเกินกว่าที่กฎหมายกำหนด (ตามกฎหมายคือ การเรียกเก็บดอกเบี้ยต้องไม่เกินร้อยละ 15 ต่อปี หรือร้อยละ 1.25 ต่อเดือน) และมักใช้วิธีทวงหนี้ที่ไม่เป็นธรรม เช่น ทวงหนี้ผ่านคนรู้จักทำให้ผู้กู้เกิดความอับอาย ข่มขู่ถึงแก่ชีวิต โดยมิจฉาชีพจะแฝงตัวมาในลักษณะปล่อยเงินกู้ผ่านระบบออนไลน์ เข้ามาขอเป็นเพื่อนผ่านทางเฟซบุ๊ก หรือ ประกาศในเว็บไซต์ต่างๆ เชิญชวนให้ใช้บริการ อ้างว่ากู้เงินได้เร็ว ไม่ต้องมีหลักประกัน จะเห็นว่าหนี้นอกระบบนั้นทั้งน่ากลัวและอันตราย นอกจากจะโดนเอาเปรียบให้เสียเงิน เสียบ้าน เสียรถ เสียชื่อเสียง เจ็บตัว หมดตัว หรือมีความเสี่ยงถึงชีวิต จึงไม่ควรเอาตัวไปยุ่งเกี่ยวอย่างเด็ดขาด
o ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น
ด้วยช่องทางและรูปแบบการหลอกลวงของมิจฉาชีพที่หลากหลาย หากท่านได้รับข้อความกู้เงินด่วนไม่ว่าช่องทางใดก็ตาม อย่าหลงเชื่อลิงก์ที่แนบมาโดยไม่มีแหล่งที่มา และห้ามกดเปิดลิงก์หรือกรอกข้อความใดๆ อย่างเด็ดขาด จนกว่าจะตรวจสอบให้มั่นใจ เพราะอาจเกิดความเสียหายและผลกระทบอีกมากมายที่ตามมาได้ ไม่ว่าจะเป็น …
1. ข้อมูลส่วนตัว…โดนขโมยไปแบบไม่รู้ตัว
มิจฉาชีพอาจแฮกข้อมูลส่วนตัวของท่านเพื่อแอบอ้างหรือสวมรอยใช้ในทางมิชอบ ซึ่งอาจทำให้ผู้กู้เกิดความเสียหายและเสียทรัพย์จำนวนมาก เช่น แอบอ้างนำข้อมูลไปเปิดบัญชี e-Wallet ปลอม ปลอมตัวเป็นคนรู้จักด้วยการแฮก LINE หรือ Facebook ขอความช่วยเหลือให้โอนเงินให้ เป็นต้น
2. เสียทรัพย์…แต่กลับไม่ได้เงินกู้
มิจฉาชีพมักกำหนดเงื่อนไขการได้รับเงินกู้ที่ไม่ชัดเจน โดยมิจฉาชีพจะอ้างตัวเป็นสถาบันการเงิน ธนาคาร บริษัทให้กู้เงิน หรือเป็นนายหน้าช่วยขอสินเชื่อ และมักจะหลอกประชาชนว่า จะได้รับเงินกู้วงเงินสูง อนุมัติไว ขั้นตอนน้อย แต่จะดำเนินการได้จะต้องโอนเงินค่ามัดจำ หรือเงินค้ำประกันให้ก่อน ท้ายสุดมิจฉาชีพเชิดเงินหนี ประชาชนผู้ถูกหลอกก็จะเสียทั้งทรัพย์และไม่ได้เงินกู้อย่างที่ตั้งใจไว้
3. น่ากลัวกว่าที่คิด…เพราะอาจอันตรายถึงชีวิต
หากมีการผิดนัดชำระหนี้ ลูกหนี้จะไม่สามารถประนอมหนี้ได้ และมิจฉาชีพมักข่มขู่จนอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สินของผู้กู้
4. ดอกเบี้ยสุดโหด…จ่ายไม่หมดเสียที
เงินกู้นอกระบบมักมีอัตราดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียมที่ไม่ชัดเจนขึ้นอยู่กับเจ้าหนี้กำหนด ซึ่งมักเป็นอัตราที่สูงมาก
หากหลงเชื่อโอนเงินและตกเป็นเหยื่อของมิจฉาชีพแล้ว ต้องทำอย่างไร ?
-
ตั้งสติ รวบรวมหลักฐานและข้อมูลที่เกี่ยวข้องให้ครบที่สุดเท่าที่มี
-
แจ้งความ นำหลักฐานทั้งหมดเข้าแจ้งความที่สถานีตำรวจในท้องที่เกิดเหตุ
-
ติดต่อธนาคาร หลังจากทำการแจ้งความดำเนินคดีแล้ว ให้ติดต่อธนาคารเพื่อแจ้งอายัดยอดเงินบัญชีของมิจฉาชีพ
โดยท่านสามารถดำเนินการและแจ้งเหตุ ตามช่องทางด้านล่างนี้
-
แจ้งความดำเนินคดี ณ สถานีตำรวจท้องที่เกิดเหตุ
-
แจ้งเบาะแสที่ศูนย์ปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ศปอส.ตร.) สายด่วน 1599 หรือ ส่งเรื่องร้องเรียนออนไลน์ได้ที่นี่ >> แจ้งเบาะแส ออนไลน์
-
กรณีเงินกู้นอกระบบ ติดต่อศูนย์รับแจ้งการเงินนอกระบบ สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง สายด่วน 1359 หรือ ส่งเรื่องร้องเรียนออนไลน์ได้ที่นี่ >> ศูนย์รับแจ้งการเงินนอกระบบ
ธปท. มีการใช้คุกกี้ที่จำเป็นต่อการใช้งานหรือให้บริการเว็บไซต์ รวมทั้งมีการใช้คุกกี้อื่น (อาทิ คุกกี้เพื่อการใช้งานเว็บไซต์ คุกกี้เพื่อวิเคราะห์การประเมินผลใช้งานและการโฆษณา) เพื่อช่วยปรับปรุงหรือเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานหรือการให้บริการเว็บไซต์ได้ดียิ่งขึ้น โดยหากท่านคลิก “ยอมรับการใช้งานคุกกี้ทุกประเภท” ถือว่าท่านยอมรับการใช้งานคุกกี้อื่นนอกจากคุกกี้ที่จำเป็นด้วย ซึ่งท่านสามารถศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้เพิ่มเติมได้จาก นโยบายการใช้คุกกี้ของ ธปท.
คุกกี้ที่จำเป็น | คุกกี้อื่น | ทางเลือก |
---|---|---|
ยอมรับ | ยอมรับ | ยอมรับการ ใช้งานคุกกี้ ที่แนะนำ |
ยอมรับ | ปฏิเสธ | ยอมรับการ ใช้งานคุกกี้ ที่จำเป็นเท่านั้น |
คุกกี้ที่จำเป็นต่อการใช้งานหรือให้บริการเว็บไซต์
คุกกี้ประเภทนี้มีความจำเป็นต่อการใช้งานหรือการให้บริการพื้นฐานของเว็บไซต์ ธปท. เพื่อให้ท่านสามารถเข้าใช้งานในส่วนต่าง ๆ ของเว็บไซต์ได้อย่างปลอดภัย และมีประสิทธิภาพ
คุกกี้อื่นเพื่อการใช้งานเว็บไซต์และเพื่อการวิเคราะห์
คุกกี้ประเภทนี้จะช่วยให้เว็บไซต์ของ ธปท. จดจำผู้ใช้งาน และตัวเลือกต่าง ๆ ที่ท่านได้ตั้งค่าไว้ รวมทั้งช่วยให้เว็บไซต์ส่งมอบคุณสมบัติและเนื้อหาเพิ่มเติมให้ตรงกับการใช้งานของท่านได้ นอกจากนี้ คุกกี้ดังกล่าวยังทำให้เห็นการปฏิสัมพันธ์ของท่านในการใช้บริการเว็บไซต์ของ ธปท. และใช้วิเคราะห์ข้อมูลการใช้งาน เพื่อการปรับปรุงการทำงานของเว็บไซต์ และการนำเสนอบริการบนเว็บไซต์
แก้หนี้ยั่งยืนExchange rateอัตราแลกเปลี่ยนGDP#BOT Magazine
FAQ
เล่นหวยลาวเว็บไหนดี
เว็บแทงหวยลาวไหนที่เชื่อถือได้? เว็บที่ได้รับการแนะนำในบทความนี้ เช่น Confirm168, Lottovip, Huay.com, และ Ruay เป็นเว็บที่ได้รับความเชื่อถือสูง มีการจ่ายเงินจริงและบริการที่ดี5 days ago
ตู้ขายลอตเตอรี่ออนไลน์ ถูกกฎหมายไหม
เตือนตัวแทนจำหน่าย และผู้ซื้อจองล่วงหน้าฯ การนำสลากไปขายต่อผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ เว็บไซต์ต่างๆ หรือตู้จำหน่ายสินค้า เป็นการกระทำที่ผิดเงื่อนไขในสัญญา และหลักเกณฑ์การรับสลากไปจำหน่าย ซึ่งสำนักงาน ฯ มีสิทธิที่จะบอกเลิกสัญญาได้Mar 20, 2024
เล่นหวยลาวเว็บไหนดี
หวยยี่กี คือ หวยออนไลน์ชนิดหนึ่ง เป็นเกมส์พนันแบบใหม่ที่มีเจ้ามือเป็นเว็บแทงหวยออนไลน์ต่างๆ เป็นชื่อของหวยออนไลน์ ที่มีที่มาจากการเล่น “จับยี่กี” ไพ่พนันจีนที่มีการเล่นโดยมีไพ่ 12 ใบในสำรับและกล่องทึบ 1 ใบ จากนั้นคนที่เป็นเจ้ามือจะทำการหยิบไพ่ขึ้นมา 1 ใบแล้วใส่กล่องเอาไว้ ให้คนเล่นทายว่าไพ่ใบนั้นคืออะไร สำหรับคนที่ทาย …
เรื่องอื้อฉาวและการโต้เถียงเกี่ยวกับรูเล็ตที่มีชื่อเสียงตลอดประวัติศาสตร์มีอะไรบ้าง?
เรื่องอื้อฉาวและการโต้เถียงเกี่ยวกับรูเล็ตที่มีชื่อเสียงตลอดประวัติศาสตร์มีอะไรบ้าง? 1. Eudaemons ในปี 1970 กลุ่มนักศึกษาฟิสิกส์ที่มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ซานตาครูซ ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อทำนายผลลัพธ์ของเกมรูเล็ตในคาสิโนเนวาดา พวกเขาเรียกตัวเองว่า “พวก Eudaemons” และทำกำไรได้มากมายก่อนที่การดำเนินงานจะปิดตัวลง 2. The Ritz-Carlton Scandal – ในปี 2004 ทีมนักพนันชาวยุโรปตะวันออกใช้เครื่องสแกนเลเซอร์และคอมพิวเตอร์เพื่อคาดเดาว่าลูกบอลจะตกลงไปบนวงล้อรูเล็ตที่คาสิโน Ritz-Carlton ในลอนดอนที่ใด พวกเขาทำเงินได้ 1.3 ล้านปอนด์ก่อนที่จะถูกจับได้ 3. เรื่องราวของกอนซาโล การ์เซีย-เปลาโย – นักพนันชาวสเปน กอนซาโล การ์เซีย-เปลาโย ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อวิเคราะห์การหมุนรูเล็ตหลายพันรอบที่คาสิโน Gran Madrid ในกรุงมาดริดในช่วงทศวรรษ 1990 เขาค้นพบว่าตัวเลขบางตัวบนวงล้อมีแนวโน้มที่จะถูกตีมากกว่าตัวเลขอื่นๆ และได้รับรางวัลหลายล้านดอลลาร์ก่อนที่จะถูกแบนจากคาสิโน 4. เรื่องอื้อฉาวเกี่ยวกับวงล้ออคติ ในยุค 1870 วิศวกรชาวอังกฤษ โจเซฟ แจ็กเกอร์ ค้นพบว่าหนึ่งในวงล้อรูเล็ตที่คาสิโน Beaux-Arts ในมอนติคาร์โล มีอคติและมีแนวโน้มที่จะได้ตัวเลขที่แน่นอนบ่อยกว่า เขาได้รับโชคลาภก่อนที่คาสิโนจะติดและเปลี่ยนวงล้อ 5. เรื่องอื้อฉาวของ Monique Laurent ในปี 1970 Monique Laurent เจ้ามือการพนันชาวฝรั่งเศสทำงานที่ Casino Deauville ใน Normandy และควบคุมวงล้อรูเล็ตตามความต้องการของเธอ เธอและน้องชายหาเงินได้มากกว่าหนึ่งล้านฟรังก์ก่อนจะถูกจับกุมและถูกตัดสินจำคุก
ซื้อหวยออนไลน์ที่ไหน
เข้าไปที่แอปฯ เป๋าตัง และเลือกบริการเลือก สลากกินแบ่งรัฐบาล เลือกซื้อสลากดิจิทัล เลือกค้นหาจากร้านค้า พิมพ์ชื่อร้านที่ต้องการ
ซื้อหวยออนไลน์ เว็บไหนดี เราขอแนะนำ 10 เว็บแทงหวย บาทละ 100 ไม่มีเลขอั้น จ่ายจริง ถูกกฎหมาย เชื่อถือได้ ให้บริการ 24 ชั่วโมง
เว็บไซต์นี้เพียงรวบรวมบทความที่เกี่ยวข้อง หากต้องการดูต้นฉบับ กรุณาคัดลอกและเปิดลิงก์ด้านล่าง:เช็กแอปเงินกู้